-->
ต้นทุน(Cost)คือค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการผลิตสินค้าหรือบริการ เราสามารถแบ่งต้นทุนได้หลายลักษณะ เช่น ต้นทุนที่แบ่งตามลักษณะส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ ซึ่งประกอบด้วย1. ต้นทุนจากวัตถุดิบ 2. ค่าแรงงาน 3. ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายในการผลิต ต้นทุนที่แบ่งตามพฤติกรรม ซึ่งประกอบด้วย1. ต้นทุนผันแปร (Variable cost) 2. ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) 3. ต้นทุนผสม (Mixed cost) หรือต้นทุนที่แบ่งตามลักษณะของปัญหาเพื่อการตัดสินใจ
ใครที่เรียนเศรษฐศาสตร์มักเจอคำว่า Marginal แปลเป็นภาษาไทยว่า ส่วนเพิ่ม หรือ หน่วยท้ายสุด สำหรับความเข้าใจเกี่ยวกับ Marginal สามารถใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจในทางธุรกิจและในชีวิตประจำวัน การที่เราจะตัดสินใจได้ก็ต่อเมื่อเราได้มีการเปรียบเทียบระหว่างสิ่งที่ได้มาที่เราคิดว่าเป็นประโยชน์(Marginal Benefit) กับสิ่งที่ต้องเสียไป(Marginal Cost)
สถาบันการเงินนับว่ามีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ ธนาคารพาณิชย์เป็นหนึ่งในสถาบันการเงินที่มีบทบาทในการให้บริการที่กว้างขวางขึ้น นอกจากรับฝากเงิน ปล่อยสินเชื่อแล้วยังมีบริการอื่น ๆที่สนองต่อความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น
เป็นที่ถกเกียงกันในสังคมออนไลน์ว่าเศรษฐศาสตร์ตายไปแล้วหรือเปล่า? หลายคนสงสัยว่าปัจจุบันยังมีคณะเศรษฐศาสตร์อยู่หรือเปล่า? คนจบเศรษฐศาสตร์ทำงานอะไร? เศรษฐศาสตร์ปรับตัวตามกระแสความต้องการของธุรกิจทันไหม? หลากหลายคำถามเหล่านี้บทความนี้จะมาตอบให้กระจ่าง
“นวัตกรรมทางธุรกิจและการเงิน” หนึ่งในหลักสูตรของคณะเศรษฐศาสตร์หอการค้า เปิดสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเงินการลงทุน โดยหนึ่งในทฤษฎีที่เมื่อผู้สอนหยิบยกขึ้นมาพูดคุยในห้อง และนักศึกษาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก
ในหลักสูตร “นวัตกรรมทางธุรกิจและการเงิน” ของคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย หนึ่งในวิชาที่ได้รับความสนใจจากนักศึกษาคือ “ตลาดการเงิน สถาบันการเงินและเครื่องมือ”
ปัจจุบัน คณะเศรษฐศาสตร์มีหลักสูตรทันสมัยเกี่ยวกับการเงินและการลงทุน เช่น หลักสูตรเศรษฐศาสตร์นวัตกรรมทางธุรกิจและการเงิน ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านธุรกิจ การเงิน และการลงทุนในยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นทักษะสำคัญสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในการเรียนเศรษฐศาสตร์โดยเฉพาะในด้านเศรษฐศาสตร์การเงินนั้น ผู้สอนมักได้รับคำถามจากนักศึกษาว่า การปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ของธนาคารแห่งประเทศไทย จะมีผลกระทบด้านใดในทางเศรษฐกิจบ้าง
อคติทางความคิด (Cognitive Bias) กับการทำงานของสมองอัตโนมัติ (System 1) ใน 2 ระบบ (Daniel Kahneman & Amos Tversky, 2002) ผู้เขียนจะเล่าเรื่องของสมองกับความคิดและการตัดสินใจแบบง่าย ๆ สไตล์เด็กเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
เนื้อหาในบทความนี้ เหมาะแก่ผู้ที่สนใจเรียนรู้พฤติกรรมการตัดสินใจด้านการเงิน โดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้า ได้เปิดสอนหลักสูตรเศรษฐศาสตร์นวัตกรรมทางธุรกิจและการเงิน ที่ผู้เรียนสามารถจัดรูปแบบการเรียนการสอนของตนเองได้
ผู้เรียนสามารถจัดรูปแบบการเรียนการสอนของตนเองได้ ว่าจะเน้นไปในด้านธุรกิจ ด้านการเงิน หรือทั้งสองด้านควบคู่กัน ในกรณีที่ผู้เรียนเลือกเรียนวิชาด้านการเงินนั้น ผู้เรียนอาจจะได้ยินคำๆนี้อยู่เสมอ
ด้วยหลักสูตรที่ทันสมัย ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน อีกทั้งยังประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพราะสามารถเรียนเพียง 120 หน่วยกิต สามารถจบการศึกษาภายในสามปี ด้วยคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐาน
มีคนตั้งคำถามมากมาย ว่าเพราะเหตุใด ถ้าจะเรียนคณะเศรษฐศาสตร์ ควรเลือกเรียนที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย